Autodesk BIM Coordination
หมวดหมู่ : BIM Architect and Construction
เกี่ยวกับหลักสูตร
หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้การเป็น BIM Coordination ผ่านการใช้งานโปรแกรม Revit และ Navisworks โดยหลักสูตรจะพูดถึงภาพรวมของตำแหน่ง BIM Coordinator ในบทบาทและหน้าที่ ที่จำเป็นต้องรู้ เพื่อประสานการทำงานในส่วนต่างๆ สำหรับบริษัทที่มีการใช้งาน BIM เข้าด้วยกัน
เนื้อหาในหลักสูตรจะเน้น การใช้งานโปรแกรม Revit ในการโมเดลงานสามมิติและการเขียนแบบงานทางด้านสถาปัตยกรรม เพื่อการส่งต่อการทำงานไปยังส่วนของงานโครงสร้างและงานระบบ รวมถึงการส่งงานไปยังโปรแกรม NavisWorks เพื่อทำการเช็ค Clash Detection และจำลองการก่อสร้าง โดยทั้งหมดนี้จะทำให้ผู้เรียนมองเห็นภาพการทำงานทั้งระบบและสิ่งจำเป็นที่ตำแหน่ง BIM Coordinator ต้องทราบในการประสานงานระหว่างทีม
เนื้อหาในหลักสูตรจะเน้น การใช้งานโปรแกรม Revit ในการโมเดลงานสามมิติและการเขียนแบบงานทางด้านสถาปัตยกรรม เพื่อการส่งต่อการทำงานไปยังส่วนของงานโครงสร้างและงานระบบ รวมถึงการส่งงานไปยังโปรแกรม NavisWorks เพื่อทำการเช็ค Clash Detection และจำลองการก่อสร้าง โดยทั้งหมดนี้จะทำให้ผู้เรียนมองเห็นภาพการทำงานทั้งระบบและสิ่งจำเป็นที่ตำแหน่ง BIM Coordinator ต้องทราบในการประสานงานระหว่างทีม
เหมาะสำหรับ : ผู้สนใจทั่วไป, อาจารย์, นักศึกษา, วิศวกร, สถาปนิกและผู้สนใจในตำแหน่ง BIM Coordinator
* สำหรับลูกค้านิติบุคคล ที่ต้องการออกใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน / ทำหนังสือ หัก ณ ที่จ่าย 3% กรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่ *
1. กรณีต้องการใบกำกับภาษี กรุณาแจ้งข้อมูลกลับภายใน 2 วัน นับตั้งแต่วันที่ชำระค่าอบรม หากเกินระยะเวลาที่กำหนดทางสถาบันจะไม่ออกเอกสารย้อนหลังทุกกรณี
2. ลูกค้านิติบุคคล สามารถทำหนังสือ หัก ณ ที่จ่าย 3% และนำส่งให้กับทางสถาบัน
3. สอบถามข้อมูลได้ที่ อีเมล์ [email protected] หรือติดต่อเจ้าหน้าที่ 063-8069515 ,02-7447827-8 ในเวลาทำการ จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.00-17.00 น.
บทที่ 1 เตรียมตัวก่อนเริ่มอบรม
1 บทเรียน
- Download ไฟล์ประกอบการเรียน
บทที่ 2 การใช้ Revit สำหรับงานสถาปัตย์
13 บทเรียน
- user interface
- การสร้างชั้นงานและสแปนเสา
- การใส่ประตูและการสร้างพื้น
- การใส่เสาและผนัง
- การใส่หน้าต่างและการก็อปปี้ชั้นงาน
- การสร้างหลังคา
- การทำบันได
- การทำผนัง Curtain wall
- การสร้างชั้นงานฝ้าเพดาน
- การใส่เส้นบอกระยะ
- การใส่ Tag และการสรุปปริมาณงาน
- การสร้าง Title Block
- การจัดหน้ากระดาษและการปริ้นงาน
บทที่ 3 การใช้ Revit สำหรับงานโครงสร้าง
13 บทเรียน
- การตั้งค่า user interface และการ insert งานเพื่อ Reference
- การสร้างชั้นงาน
- การสร้างงานฐานราก
- การสร้างงานเสาตอม่อและงานเสา
- การสร้างงานคาน
- การตั้งค่าเหล็ก Rebar
- การใส่เหล็กเสริมในงานฐานราก
- การใส่เหล็กเสริมในงานเสา
- การใส่เหล็กเสริมในงานคาน
- การสร้างงานโครงสร้างหลังคา
- การสรุปปริมาณงาน
- การทำแบบขยาย 3มิติ
- การจัดหน้ากระดาษและการปริ้นงาน
บทที่ 4 การใช้ Revit สำหรับงานระบบ
11 บทเรียน
- งานระบบ และการดึงไฟล์งานมา Reference
- การวาง Sprinkler และถังดับเพลิง
- การตั้งค่างานระบบ Fire Protection
- การตีท่อระบบ Fire Protection Wet
- การ Copy ข้ามชั้นงานและการต่อท่อในช่อง Shaft
- การเตรียมไฟล์ก่อนสร้างงาน Duct System
- การใช้งานร่วมกับไฟล์ DWG และการวาง Diffuser
- การตั้งค่าท่อ Duct และ การใช้งานเบื้องต้น
- การใช้งานท่อ Duct
- การสรุปปริมาณงานและ การ Copy ข้ามชั้นงาน
- การสเปคแบบการปริ้นงาน
บทที่ 5 การตรวจเช็คและจำลองงานก่อสร้างด้วย NavisWork
11 บทเรียน
- user interface และหน้าต่างการใช้งาน
- การดึงไฟล์งานและการแสดงผลในหน้าจอ 3D
- การ Select เลือกวัตถุ การซ่อนและการแสดงผล
- การวัดระยะและการขยับวัตถุ
- การใช้งาน Markup, Tag และ Comments
- การใช้งาน Cash Detective เพื่อเช็คการชนกัน
- การส่งรายงานกลับเพื่อแก้ไขงาน
- การใช้งาน Set เพื่อสร้างกลุ่มงาน
- การสร้าง Time Liner เพื่อทำแผนงาน
- การลิงค์ Time Liner เข้ากับโมเดล
- การทำวีดีโอจำลองงานก่อสร้างอาคาร